วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

กิจกรรมที่3การวาดภาพด้วยปากกา







เทคนิคการเขียนภาพการ์ตูน
      การ์ตูนเป็นภาพเขียนที่ผิดเพี้ยนไปจากปกติธรรมดา  โดยเน้นให้เกิดอารมณ์ขัดจากการบิดเบี้ยวของเส้น รูปร่าง  รูปสรง ไม่เน้นความเหมือนจริงทางธรรมชาติ
        การฝึกเขียนการ์ตูนเบื้องต้นคนที่ไม่เคยเขียนมาก่อน ควรคำนึงถึงปัจจัยที่สำคัญดังนี้
1 ความเชื่อมั่นในตนเอง ควรระลึกอยู่เสมอว่าการเขียนภาพให้ผิดเพี้ยนบิดเบี้ยวไปจากธรรมชาติย่อมเขียนได้ง่ายกว่าการเขียนภาพเหมือนจริงเพราะไม่ต้องกังวลกับความถูกต้องของสัดส่วนต่างๆ
2  การฝึกเขียนด้วยสมาธิอย่างใจจดใจจ่อ โดยอาศัยวัสดุเขียนที่ไม่ต้องการลบเช่นปากกาลูกลื่น  ปากกาหมึกซึมไม่ควรใช้ดินสอหรือยางลบเป็นอันขาดการเขียนภาพด้วยปากกาหากเส้นหรือรูปร่างบิดเบี้ยวควรปล่อยให้เบี้ยวอยู่อย่างนั้นเพราะนั่นคือต้นเหตุที่ดีของอารมณ์ขันนั่นเอง
3 ความรู้พื้อฐานเกี่ยวกับเส้น เส้นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดในการเขียนการ์ตูนเส้นที่มีคุณภาพดีจะให้ความรู้สึกมั่นคง มีจุดหมายแน่นอน   
4 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเรียนรู้ การเลียนแบบนับเป็นธรรมชาติของการเรียนรู้ของมนุษย์อีกรูปแบบหนึ่งที่จะนำไปสู่การสั่งสมประสบการณ์เก็บไว้เพื่อเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ของขั้นต่อๆไป
5 การสร้างจินตนาการโดยขาดประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆจะทำให้เกิดความอึดอัด มึนงงง  คิดไม่ออกเมื่อเขียนออกมาแล้วมักจะไม่ดังใจต้องการ ในที่สุดจะอ่อนล้า ท้อถอย อาจเป็นให้เบื่อการเขียนภาพไปเลย

กิจกรรมที่2 การสกีนปฎิทิน

 





   
     
       สื่อสิ่งพิมพ์
ประเภท  Silk  Screen
สิ่งพิมพ์
การสร้างผลงานกราฟิก(รูปภาพ ตัวอักษร  สัญลักษณ์ )เหมือนกันหลายๆชิ้นจากพิมพ์เดียวกัน

กิจกรรมที่1การพันลวดเส้นเดียวอย่างเป็นระบบ



        ขั้นตอนแลกขอกการพันลวดของคนที่ไม่เคยทำคือต้องฝึกการพันเกลียวต่อเนื่องการดัดลวดเป็นขั้นบันไดแล้วก็เป็นกวายให้ได้ก่อนที่สำคัญก่อนที่เราจะพันลวดเราต้องวางแผนก่อนคิดอย่างเป็นระบบก่อนที่จะพันมันถึงจะเข้าใจง่าย